BIGC case
BIGCเผยคาสิโนจะขายหุ้น 58.56%ให้ทีซีซี คอร์ปอเรชั่นที่ 252.88บ./หุ้น
ข่าวหุ้น-การเงิน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย -- จันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559 07:45:03 น.
บมจ.บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ (BIGC) แจ้งว่าบริษัทได้รับแจ้งจากกลุ่มคาสิโนว่า Géant International BV ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ได้เข้าทำสัญญาซื้อขายหุ้นกับบริษัท ทีซีซี คอร์ปอเรชั่น จำกัด ซึ่งเป็นผู้ซื้อ โดยเป็นการซื้อและขายหุ้นทั้งหมดทั้งทางตรงและทางอ้อมในบริษัทรวมทั้งสิ้น 483,077,600 หุ้น คิดเป็นจำนวน 58.56% ของหุ้นที่ออกแล้วทั้งหมดของบริษัท
ทั้งนี้ ผู้ขายจะขายหุ้นใน BIGC จำนวน 264,797,600 หุ้น ให้แก่ผู้ซื้อคิดเป็นราคาต่อหุ้นในสกุลเงินยูโรเป็นจำนวนเท่ากับเงินจำนวน 252.88 บาท ซึ่งแปลงเป็นเงินสกุลยูโร โดยคำนวณที่อัตราแลกเปลี่ยน 39.77 บาทต่อ 1 ยูโร ซึ่งคิดเป็นหุ้นจำนวน 32.10% ของหุ้นที่ออกแล้วทั้งหมด
นอกจากนี้ผู้ขายจะขายหุ้นทั้งหมด 100% ในบริษัท เสาวนีย์โฮลดิ้งส์ จำกัด ให้แก่ผู้ซื้อ ขณะที่เสาวนีย์ ถือหุ้นอยู่ใน BIGC จำนวน 218,280,000 หุ้น คิดเป็นจำนวน 26.46% ของหุ้นที่ออกแล้วทั้งหมดของบริษัท
อย่างไรก็ตามราคาหุ้น BIGC ที่จะเสนอขายนั้น อาจปรับลงตามจำนวนเงินปันผล ซึ่งผู้ขายอาจได้รับจากบริษัทตามมติที่ประชุมสามัญประจำปี 2559 ขณะที่คาดว่าการทำธุรกรรมดังกล่าวจะเสร็จสิ้นไม่เกินวันที่ 31 มี.ค.59 ซึ่งภายหลังการเสร็จสิ้นธุรกรรมกการขายหุ้น ผู้ซื้อจะต้องดำเนินการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของ BIGC ภายใต้ประกาศที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการกำกับตลาดทุนและกฎเกณฑ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องต่อไป
อนึ่ง บริษัท ทีซีซี คอร์ปอเรชั่น จำกัด เป็นบริษัทในกลุ่มของนายเจริญ สิริวัฒนภักดี เจ้าของธุรกิจเบียร์และสุราที่ใหญ่ที่สุดของไทยและยังเป็นเจ้าของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์หลายแห่ง
ขณะที่ราคาหุ้น BIGC ปิดตลาดล่าสุดเมื่อวันศุกร์ อยู่ที่ 227 บาท
ราคาหุ้นหลังข่าวออกแล้วใกล้เคียงกับราคาที่กลุ่ม Casio ขาย
------------------------------------------------------------
Valuation by พี่หมอพงษ์ศักดิ์
เมื่อไม่นานมานี้ มีข่าวเรื่องกลุ่ม casino ต้องการขายกิจการ big c ในเมืองไทยเพื่อไปใช้หนี้ เนื่องจากบริษัทแม่ที่ฝรั่งเศลมีภาระหนี้สินมาก และธุรกิจอยู่ในช่วงที่ไม่ดีมากนัก ผมจะลองประเมิน fair value ของ big c ในมุมมองของตัวเอง เพื่อเป็นกรณีศึกษา ไม่ได้เพื่อชี้นำราคา และผมไม่มีหุ้น big c ในปัจจุบัน
ในอดีตมีตัวอย่างคล้ายคลึงกัน 2 ตัวอย่าง คือ กรณี bigc ซื้อ carrefour และ cpall ซื้อ makro
กรณี big c ซื้อ carrefour เกิดขึ้นในปี 2011 มูลค่าที่ big c ซื้อ
...
BIGCเผยคาสิโนจะขายหุ้น 58.56%ให้ทีซีซี คอร์ปอเรชั่นที่ 252.88บ./หุ้น
ข่าวหุ้น-การเงิน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย -- จันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559 07:45:03 น.
บมจ.บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ (BIGC) แจ้งว่าบริษัทได้รับแจ้งจากกลุ่มคาสิโนว่า Géant International BV ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ได้เข้าทำสัญญาซื้อขายหุ้นกับบริษัท ทีซีซี คอร์ปอเรชั่น จำกัด ซึ่งเป็นผู้ซื้อ โดยเป็นการซื้อและขายหุ้นทั้งหมดทั้งทางตรงและทางอ้อมในบริษัทรวมทั้งสิ้น 483,077,600 หุ้น คิดเป็นจำนวน 58.56% ของหุ้นที่ออกแล้วทั้งหมดของบริษัท
ทั้งนี้ ผู้ขายจะขายหุ้นใน BIGC จำนวน 264,797,600 หุ้น ให้แก่ผู้ซื้อคิดเป็นราคาต่อหุ้นในสกุลเงินยูโรเป็นจำนวนเท่ากับเงินจำนวน 252.88 บาท ซึ่งแปลงเป็นเงินสกุลยูโร โดยคำนวณที่อัตราแลกเปลี่ยน 39.77 บาทต่อ 1 ยูโร ซึ่งคิดเป็นหุ้นจำนวน 32.10% ของหุ้นที่ออกแล้วทั้งหมด
นอกจากนี้ผู้ขายจะขายหุ้นทั้งหมด 100% ในบริษัท เสาวนีย์โฮลดิ้งส์ จำกัด ให้แก่ผู้ซื้อ ขณะที่เสาวนีย์ ถือหุ้นอยู่ใน BIGC จำนวน 218,280,000 หุ้น คิดเป็นจำนวน 26.46% ของหุ้นที่ออกแล้วทั้งหมดของบริษัท
อย่างไรก็ตามราคาหุ้น BIGC ที่จะเสนอขายนั้น อาจปรับลงตามจำนวนเงินปันผล ซึ่งผู้ขายอาจได้รับจากบริษัทตามมติที่ประชุมสามัญประจำปี 2559 ขณะที่คาดว่าการทำธุรกรรมดังกล่าวจะเสร็จสิ้นไม่เกินวันที่ 31 มี.ค.59 ซึ่งภายหลังการเสร็จสิ้นธุรกรรมกการขายหุ้น ผู้ซื้อจะต้องดำเนินการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของ BIGC ภายใต้ประกาศที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการกำกับตลาดทุนและกฎเกณฑ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องต่อไป
อนึ่ง บริษัท ทีซีซี คอร์ปอเรชั่น จำกัด เป็นบริษัทในกลุ่มของนายเจริญ สิริวัฒนภักดี เจ้าของธุรกิจเบียร์และสุราที่ใหญ่ที่สุดของไทยและยังเป็นเจ้าของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์หลายแห่ง
ขณะที่ราคาหุ้น BIGC ปิดตลาดล่าสุดเมื่อวันศุกร์ อยู่ที่ 227 บาท
ราคาหุ้นหลังข่าวออกแล้วใกล้เคียงกับราคาที่กลุ่ม Casio ขาย
------------------------------------------------------------
Valuation by พี่หมอพงษ์ศักดิ์
เมื่อไม่นานมานี้ มีข่าวเรื่องกลุ่ม casino ต้องการขายกิจการ big c ในเมืองไทยเพื่อไปใช้หนี้ เนื่องจากบริษัทแม่ที่ฝรั่งเศลมีภาระหนี้สินมาก และธุรกิจอยู่ในช่วงที่ไม่ดีมากนัก ผมจะลองประเมิน fair value ของ big c ในมุมมองของตัวเอง เพื่อเป็นกรณีศึกษา ไม่ได้เพื่อชี้นำราคา และผมไม่มีหุ้น big c ในปัจจุบัน
ในอดีตมีตัวอย่างคล้ายคลึงกัน 2 ตัวอย่าง คือ กรณี bigc ซื้อ carrefour และ cpall ซื้อ makro
กรณี big c ซื้อ carrefour เกิดขึ้นในปี 2011 มูลค่าที่ big c ซื้อ
...
Market cap/ revenue = 1.2
Market cap/ ebitda = 13 เท่า
กรณี cpall ซื้อ makro ในปี 2013 มูลค่าที่ cpall ซื้อ
Market cap/ revenue = 1.64
Market cap/ ebitda= 31 เท่า
กรณี bigc ควรมี fair value เท่าไร ผมคิดว่า ควรพิจารณาสองประเด็นหลักคือ
1 คิดมูลค่าของกิจการ hypermarket บวก big c market บวก mini big c บวก ร้านขายยา pure
2 คิดมูลค่าทรัพย์สินที่เป็นพื้นที่ให้เช่า
3 มูลค่าของกิจการที่อยู่ในช่วงปลาย s curve ต่างจากของ carrefour และ makro ที่อยู่ช่วง mid s curve
ยอดขายของ bigc เมื่อหักรายได้จากพื้นที่เช่า ผมประมาณว่ามีรายได้ประมาณ 125000 ลบ
ยอด ebitda ของส่วนของค่าปลีก ผมประมาณ 8000 ลบ
ยอดรายได้ของพื้นที่เช่าผมประมาณ 10000 ลบ กำไรประมาณ 3000 ลบ
ผมคิดว่า market cap ของส่วนค่าปลีก ผมให้ 1.0 ของ revenue หรือ ประมาณ 15.62 ของ ebitda= 125000 ลบ
ผมคิดว่า market cap ของส่วนพื้นที่เช่า ผมให้ per 21.66 เท่า โดยผมให้มูลค่า 85% ของ per ของ cpn เนื่องจาก
ผมคิดว่าอัตราการปรับค่าเช่าและการขยายตัว จะน้อยกว่าศักยภาพของ cpn market cap ส่วนนี้ผมได้มูลค่า =
65000 ลบ
มูลค่ารวมของกิจการ big c ที่ผมคำนวนได้คือ190000 ลบ เท่ากับ 230.30 บาทต่อหุ้น
ผมแสดงตัวอย่างการคำนวนกิจการในกรณี take out valuation ที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นตัวอย่างเพื่อการศึกษา ตัวเลข
รายได้ ผมนำมาจากจากงบการเงินที่อาจไม่รู้รายละเอียดมาก และการซื้อขายที่เกิดขึ้นจริงขึ้นกับปัจจัยอื่นไม่จำ
เป็นต้องซื่อที่ fair value เพราะมีคุณค่าที่สำคัญคือ synergy value ที่แต่ละบริษัทที่ประมูลจะมีมูลค่าในใจต่างกัน
ผมขอ disclaim ว่าผมไม่ได้มีหุ้น big c และ ไม่ได้คิดจะซื้อหุ้น big c ด้วยครับ
Market cap/ ebitda = 13 เท่า
กรณี cpall ซื้อ makro ในปี 2013 มูลค่าที่ cpall ซื้อ
Market cap/ revenue = 1.64
Market cap/ ebitda= 31 เท่า
กรณี bigc ควรมี fair value เท่าไร ผมคิดว่า ควรพิจารณาสองประเด็นหลักคือ
1 คิดมูลค่าของกิจการ hypermarket บวก big c market บวก mini big c บวก ร้านขายยา pure
2 คิดมูลค่าทรัพย์สินที่เป็นพื้นที่ให้เช่า
3 มูลค่าของกิจการที่อยู่ในช่วงปลาย s curve ต่างจากของ carrefour และ makro ที่อยู่ช่วง mid s curve
ยอดขายของ bigc เมื่อหักรายได้จากพื้นที่เช่า ผมประมาณว่ามีรายได้ประมาณ 125000 ลบ
ยอด ebitda ของส่วนของค่าปลีก ผมประมาณ 8000 ลบ
ยอดรายได้ของพื้นที่เช่าผมประมาณ 10000 ลบ กำไรประมาณ 3000 ลบ
ผมคิดว่า market cap ของส่วนค่าปลีก ผมให้ 1.0 ของ revenue หรือ ประมาณ 15.62 ของ ebitda= 125000 ลบ
ผมคิดว่า market cap ของส่วนพื้นที่เช่า ผมให้ per 21.66 เท่า โดยผมให้มูลค่า 85% ของ per ของ cpn เนื่องจาก
ผมคิดว่าอัตราการปรับค่าเช่าและการขยายตัว จะน้อยกว่าศักยภาพของ cpn market cap ส่วนนี้ผมได้มูลค่า =
65000 ลบ
มูลค่ารวมของกิจการ big c ที่ผมคำนวนได้คือ190000 ลบ เท่ากับ 230.30 บาทต่อหุ้น
ผมแสดงตัวอย่างการคำนวนกิจการในกรณี take out valuation ที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นตัวอย่างเพื่อการศึกษา ตัวเลข
รายได้ ผมนำมาจากจากงบการเงินที่อาจไม่รู้รายละเอียดมาก และการซื้อขายที่เกิดขึ้นจริงขึ้นกับปัจจัยอื่นไม่จำ
เป็นต้องซื่อที่ fair value เพราะมีคุณค่าที่สำคัญคือ synergy value ที่แต่ละบริษัทที่ประมูลจะมีมูลค่าในใจต่างกัน
ผมขอ disclaim ว่าผมไม่ได้มีหุ้น big c และ ไม่ได้คิดจะซื้อหุ้น big c ด้วยครับ
No comments:
Post a Comment